หน้าแรก Dhamma's Daily : บันทึกธรรมวิจัย

Dhamma's Daily : บันทึกธรรมวิจัย

    รำลึกวันวาน…มโนปณิธาน พระราชกิจจาภรณ์ (เทอด ญาณวชิโร) ตอนที่ ๖๓ “แสงแห่งธรรมยังคงนำทาง”

    https://www.youtube.com/watch?v=2TOVilbbbdo รายงานพิเศษ เรื่อง อาฟเตอร์ช็อกเนปาล...พระธรรมทูตยังคงเดินเท้าเข้าช่วยเหลือ โดย มนสิกลุ โอวาทเภสัชช์ นิตยสาร เนชั่นสุดสัปดาห์ ฉบับที่ ๑๑๙๗ วันที่ ๘ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๕๘
    โครงการอุปสมบทหมู่นวกะโพธิ รุ่น ๗ “รวมใจภักดิ์รักแผ่นดิน” ๖๕ ท่าน ตั้งแต่วันที่ ๒๕ มีนาคม – ๒ เมษายน ๒๕๖๐ โดยเริ่มต้นพิธีขลิบผมที่วัดสระเกศ ราชวรมหาวิหาร และเดินทางไปบรรพชาอุปสมบท ณ ต้นพระศรีมหาโพธิ์ สาธารณรัฐอินเดีย จัดโดย สำนักงานกำกับดูแลพระธรรมทูตไปต่างประเทศ วัดสระเกศ ในขณะนั้น ร่วมกับ คณะพระธรรมทูต สายประเทศอินเดีย- เนปาล วัดไทยพุทธคยา สาธารณรัฐอินเดีย

    ทำไม…ลูกผู้ชายต้องบวช (ตอนที่ ๑๗) คุณสมบัติประชุมสงฆ์ที่เข้าร่วมในพิธีบวช และ คุณสมบัติของสีมาที่ใช้ประกอบพิธีบวช โดย ญาณวชิระ

    จิรํ ติฏฺฐตุ พุทธสาสนํ ฯ ขอพระพุทธศาสนาจงดำรงอยู่ตลอดกาลนาน ญาณวชิระ หนังสือ “ลูกผู้ชายต้องบวช” โดย ญาณวชิระ จัดพิมพ์เป็นธรรมทานโดย สถาบันพัฒนาพระวิทยากร วัดสระเกศ / ที่ปรึกษา : พระเทพรัตนมุนี , พระครูอมรโฆสิต...
    พระมหาประสิทธิ์ ญาณปฺปทีโป ดร. ผู้เขียน ประธานกลุ่มเพื่อชีวิตดีงาม สถาบันพัฒนาพระวิทยากร สำนักงานส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และความมั่นคงแห่งสถาบันชาติ พระศาสนา พระมหากษัตริย์ วัดสระเกศ

    เมื่อโควิด-๑๙ ระบาด การรับผิดชอบตนเองเพื่อสังคมเป็นสิ่งจำเป็นมาก โดย พระมหาประสิทธิ์ ญาณปฺปทีโป กลุ่มเพื่อชีวิตดีงาม

    ช่วงนี้มีญาติโยมถามกันมาว่า ธรรมะข้อไหนจะนำมาใช้ในระหว่างเกิดโรคระบาดนี้ เพราะไม่เพียงแค่โรคเท่านั้นที่น่ากลัว ความกลัวโรคอย่างเกินจริง หรือไม่กลัวไม่กังวลเอาซะเลย ไม่หาทางป้องกันสำหรับตนเอง ก็อาจกลายเป็นพาหะสำหรับคนรอบข้างไปได้อย่างที่เกิดขึ้นแล้วทั่วโลก อาจน่ากลัวกว่า? อาตมามีความเห็นว่า... สิ่งที่ควรทำคือ ติดตามสถานการณ์ให้ดี เพราะเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ไม่พาตัวเองไปสถานที่เสี่ยง

    “มองอนาคตพระพุทธศาสนาในประเทศไทย” ผ่านสายตาหลวงพ่อสมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสณมหาเถระ) ตอนที่ ๓ “ วิสัยทัศน์ผู้นำพระพุทธศาสนา” จากธรรมนิพนธ์เรื่อง “เย็นหิมะในรอยธรรม”

    อาจาริยบูชา “๙ มีนาคม” วันสลายสรีรสังขาร เจ้าประคุณสมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสณมหาเถระ) อดีตประธานผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช อดีตกรรมการมหาเถรสมาคม อดีตเจ้าอาวาสวัดสระเกศ ราชวรมหาวิหาร พระมหาเถระผู้เป็นประวัติศาสตร์ความทรงจำพระพุทธศาสนาโลก ด้วยเศียรเกล้า  ความสำเร็จของการเผยแผ่พระพุทธศาสนา จนเป็นที่ยอมรับในเวทีนานาชาติ เกิดขึ้นเพราะการทำงานอย่างมุ่งมั่น ของพระสงฆ์ไทย จากอดีตจนถึงปัจจุบัน ผ่านงานการเผยแผ่ที่เรียกว่า พระธรรมทูตสายต่างประเทศ แต่กว่าจะเกิดพระธรรมทูตสายต่างประเทศ ต้องฟันฝ่าอุปสรรคนานาประการ

    ๑๒๒ ปี แห่งการเดินทางของพระบรมสารีริกธาตุจากกรุงกบิลพัสดุ์ สู่สยามประเทศ จากภาพยนต์การ์ตูนอิงประวัติศาสตร์ เรื่อง “ปาฏิหาริย์พระบรมสารีริกธาตุ ณ บรมบรรพต (ภูเขาทอง) วัดสระเกศ ” ตอนที่ ๒...

    https://www.youtube.com/watch?v=iGLPbfE_VEE&t=42s ๑๒๒ ปี แห่งการเดินทางของพระบรมสารีริกธาตุจากกรุงกบิลพัสดุ์ สู่สยามประเทศ จากภาพยนต์การ์ตูนอิงประวัติศาสตร์ เรื่อง “ปาฏิหาริย์พระบรมสารีริกธาตุ ณ บรมบรรพต (ภูเขาทอง) วัดสระเกศ ” ตอนที่ ๒ “พลังแห่งพุทธานุภาพ ” โดย สำนักงานส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม...
    วัดเชตวันมหาวิหาร หรือ วัดพระเชตวัน อารามของอนาถบิณฑิกเศรษฐี เป็นวัดที่สร้างโดยท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐี มหาเศรษฐีแห่งเมืองสาวัตถี บนที่ตั้งของเชตวัน หรือสวนเจ้าเชต นอกเมืองสาวัตถี ซึ่งอนาถบิณฑิกเศรษฐีซื้อมาด้วยเงินมากถึง 18 โกฏิ (ตามการนับค่าเงินในสมัยนั้น) วัดแห่งนี้นับว่าเป็นวัดและที่มั่นสำคัญในการเผยแพร่พระพุทธศาสนาในสมัยพุทธกาล และเป็นวัดที่พระพุทธเจ้าประทับจำพรรษามากที่สุดถึง ๑๙ พรรษา และกรุงสาวัตถี เมืองโบราณในสมัยพุทธกาล มีความสำคัญในฐานะที่เป็นเมืองหลวงของแคว้นโกศล ขอขอบคุณ ภาพถ่ายโดย พระมหาปฐมพงษ์ ญาณวํโส จริยธรรมแชนแนล สำนักงานส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และความมั่นคงแห่งสถาบันชาติ พระศาสนา พระมหากษัตริย์ วัดสระเกศ

    วันนี้วันพระ ศึกษาความเป็นมาของบทสวดมนต์ “กรณียเมตตสูตร” จากหนังสือ “พุทธานุภาพ อานุภาพของพระพุทธองค์” และอานิสงส์ในการเจริญพระพุทธมนต์ด้วยสติและปัญญา โดย พระราชกิจจาภรณ์ (เทอด ญาณวชิโร)

    จาก หนังสือ “ทำวัตรสวดมนต์แปล ฉบับคณะสงฆ์ วัดสระเกศ ราชวรมหาวิหาร เรียบเรียงโดย พระราชกิจจาภรณ์ (เทอด ญาณวชิโร) จัดพิมพ์โดย กองทุนพุทธานุภาพ วัดสระเกศ ราชวรมหาวิหาร พิมพ์ครั้งที่ ๑๖ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๕๔ (ฉบับธรรมทาน)
    ขอขอบคุณ ภาพวาดโดย พระครูสมุห์สุพัฒน์ อนาลโย

    จาริกธรรมในอเมริกา (ตอนที่ ๒๖) “ โควิด ๑๙ บิดใจให้มืดมน? ” โดย พระครูสมุห์สุพัฒน์ อนาลโย...

    โรคติดเชื้อจากไวรัสโควิด -๑๙  เป็นข่าวช่วงแรกเกิดขึ้นที่เมืองอู่ฮั่นประเทศจีน ได้แพร่ระบาดไปทั่วบ้านทั่วเมืองกลายเป็นระดับโลก จนก่อให้เกิดความเดือดร้อนวิกฤตหนักถึงขั้นเสียชีวิตกันเป็นหมื่นคนแล้วทั่วโลกวันนี้ จาริกธรรมในอเมริกา  ตอนที่ ๒๖ “ โควิด ๑๙  บิดใจให้มืดมน? ”

    รำลึกวันวาน…มโนปณิธาน พระราชกิจจาภรณ์ (เทอด ญาณวชิโร) ตอนที่ ๖๒ กราบพระบรมสารีริกธาตุ วันที่พระอาทิตย์ทรงกลด เหนือพระเจดีย์ภูเขาทอง และจุดกำเนิดบันทึกธรรม

    "เพราะเห็นทุกข์ จึงเห็นธรรม" ผูัเขียนจดจำคำสอนของท่านอาจารย์เจ้าคุณพระราชกิจจาภรณ์ (เทอด ญาณวชิโร) ในขณะนั้นได้เสมอ และน้อมนำมาประพฤติปฏิบัติอยู่ทุกวัน แม้ความทุกข์ถาโถมเพียงใด เราก็ต้องเห็นความทุกข์ มิใช่จ่อมจมอยู่กับความทุกข์ ....คำสอนของท่าน...อยู่ในชีวิตของท่าน อยู่ในงานของท่าน อยู่ในทุกลมหายใจเข้าออกของท่าน และอยู่ในกายใจของมนุษย์ทุกคนเช่นเดียวกัน เป็นเรื่องเดียวที่พระพุทธเจ้าทรงสอนตลอดพระชนม์ชีพของพระองค์หลังจากตรัสรู้อริยสัจธรรม ก็คือ เรื่อง ทุกข์ และการดับทุกข์นี้เอง
    พระเทพโพธิวิเทศ (วีรยุทธ์ วีรยุทฺโธ) เจ้าอาวาสวัดไทยพุทธคยา หัวหน้าพระธรรมทูต สายประเทศอินเดีย-เนปาล เตรียมบรรพชาและอุปสมบทให้กับพระนวกะโพธิรุ่นที่ ๗ ณ ใต้ต้นพระศรีมหาโพธิ์ พุทธคยา สาธารณอินเดีย ร่วมกับ สำนักงานกำกับพระธรรมทูตไปต่างประเทศ วัดสระเกศราชวรมหาวิหาร ปีพ.ศ.๒๕๖๐

    ทำไม…ลูกผู้ชายต้องบวช (ตอนที่ ๑๖) ความเข้าใจ เรื่อง “สงฆ์” ผู้ทำหน้าที่ในการบวชให้กุลบุตร และ คุณสมบัติเกี่ยวกับการบวช โดย ญาณวชิระ

    จิรํ ติฏฺฐตุ พุทธสาสนํ ฯ ขอพระพุทธศาสนาจงดำรงอยู่ตลอดกาลนาน ญาณวชิระ หนังสือ “ลูกผู้ชายต้องบวช” โดย ญาณวชิระ จัดพิมพ์เป็นธรรมทานโดย สถาบันพัฒนาพระวิทยากร วัดสระเกศ / ที่ปรึกษา : พระเทพรัตนมุนี , พระครูอมรโฆสิต...

    “การให้อภัย แก้ไขปัญหาได้ทุกเรื่อง” โดย พระมหาสรายุทธ โรจนญาโณ จากโครงการพระนักเขียน “หลักสูตรพระวิทยากรกระบวนธรรม” ตอนที่ ๒ สร้างพระนักเขียน เขียนโลกให้ถึงธรรม

    การให้อภัย  แก้ไขปัญหาได้ทุกเรื่อง โดย พระมหาสรายุทธ โรจนญาโณ จากคอลัมน์ "เขียนโลกทะลุธรรม" หน้าธรรมวิจัย นสพ. คมชัดลึก วันอังคารที่ ๒๙ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๖๐

    TRENDING RIGHT NOW